<p>สงสัยว่าตัวจับเวลาในห้องเรียนแบบใดที่เหมาะกับความต้องการของคุณมากที่สุด? บทความนี้จะสํารวจรายละเอียดตัวจับเวลาในห้องเรียน 5 ประเภทหลักเพื่อช่วยให้คุณเป็นมืออาชีพในการจัดการห้องเรียน อ่านต่อเพื่อค้นหาคําแนะนําสําหรับตัวจับเวลาแต่ละประเภท!</p>
<p>ด้วยรางวัล การแข่งขันที่ดี และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบโต้ตอบและมีส่วนร่วม การเล่นเกมสามารถเพิ่มแรงจูงใจของนักเรียนได้ มาสำรวจกันว่าการทำให้เป็นเกมเพิ่มแรงจูงใจของนักเรียนได้อย่างไร การทำให้เป็นเกมทำงานอย่างไร และวิธีที่ครูใช้การเล่นเกมเพื่อปรับปรุงประสบการณ์การเรียนรู้ของนักเรียนได้อย่างไร</p>
<p>มาสำรวจวิธีที่คุณสามารถใช้การลากและวางเป็นกิจกรรมในชั้นเรียนเพื่อสร้างสื่อการสอนที่น่าสนใจและช่วยให้นักเรียนของคุณเข้าใจและเห็นภาพแนวคิดของคุณได้ดีขึ้น </p>
<p>เรียนรู้วิธีฝังเว็บไซต์จริงใน PowerPoint โดยใช้ ClassPoint ใช้อินเทอร์เน็ต บุ๊กมาร์กไซต์โปรด และแทรกหน้าเป็นสไลด์ในงานนำเสนอของคุณ ด้วยเครื่องมือเสริมนี้ ครูสามารถปรับปรุงบทเรียนด้วยแหล่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต เช่น การจำลองเชิงโต้ตอบ อินโฟกราฟิก และวิดีโอ</p>
<p>สามารถทำได้ตามขั้นตอนจากวิดีโอด้านบนนี้ จะสังเกตุได้ว่า การสุ่มชื่อของนักเรียนนั้นจะสุ่มได้ 2 รูปแบบ คือการสุ่มแบบ วงล้อ และ การ์ด ซึ่งเราสามารถนำไปปรับใช้กับกิจกรรมอื่นได้อีกด้วย เครื่องมือนี้จะช่วยลดเวลาในการค้นหาข้อมูลและจัดการเรียนการสอนได้อย่างไหลลื่นมากยิ่งขึ้น อีกทั้งเรายังสามารถนำเครื่องมือนี้ไปปรับใช้กับการทำกิจกรรมผ่านเว็บไซด์อื่นๆได้อีกด้วย ยกตัวอย่างเช่น Chat GPT เป็นต้น ปกติแล้วการเคลื่อนไหวสิ่งของขณะนำเสนอบน PowerPoint จำเป็นต้องใส่ Animation และเป็นการกำหนดทิศทางการเคลื่อนไหวมาก่อนแล้ว ทำให้เกมถูกอ่านออกได้ง่ายและไม่มีความเป็นธรรมชาติ แต่กับฟีเจอร์ Draggable Objects นั้น เราสามารถที่จะตั้งค่า สิ่งของบน Slide เท่าไหร่ก็ได้ และสามารถทำให้สิ่งของเคลื่อนไหวได้ตามที่ใจเราต้องการ ในขณะอยู่ในโหมดนำเสนอ! การให้ดาว จัดอันดับ และการอัปเลเวล เป็นรูปแบบกลไกของ Game ที่เรานำประกอบการสร้างสื่อการสอนให้มีความน่าสนใจและตื่นเต้นมากยิ่งขึ้น คุณครูสามารถนำกลไกนี้ใช้กับการสร้างกิจกรรมอื่นๆได้ เพื่อเสริมสร้างห้องเรียนแบบ Active Learning เพียงเท่านี้คุณครูก็สามารถนำเกมนี้ไปร่วมสร้างการเรียนรู้กับนักเรียนได้แล้ว เห็นมั้ยครับว่าไม่ยุ่งยากและสร้างจบได้ภายในโปรแกรมเดียวเลย เพื่อลดการทำงานและเพิ่มประสิทธิภาพในการสอนของคุณครูให้มากขึ้น ทาง ClassPoint ยินดีที่จะนำไอเดียแบบนี้มาฝากคุณครูกันอีกนะครับ เกมหน้าจะเป็นอะไร รอติดตามกันได้เลย</p>
<p>เรียนรู้วิธีการลากและวางวัตถุระหว่างการนำเสนอ PowerPoint ด้วยวัตถุที่ลากได้! ดูคำแนะนำทีละขั้นตอนเหล่านี้และตัวอย่างวิธีใช้องค์ประกอบสไลด์ที่ลากได้เพื่อดึงดูดผู้ชม</p>
<p>โดยไม่ต้องสลับไปมาระหว่างเครื่องมือหลายตัว คุณสามารถสุ่มดึงดูดนักเรียนและกระตุ้นการมีส่วนร่วม ความยุติธรรม & การรวมเป็นหนึ่ง และให้นักเรียนตั้งใจเรียนตลอดบทเรียนของคุณ</p>
<p>Gamification เป็นเครื่องมืออันทรงพลังที่สามารถส่งเสริมความก้าวหน้าของนักเรียนด้วยการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนและความรู้สึกถึงความสำเร็จ ด้วยการผสมผสานกลไกของเกม เช่น คะแนน ตราสัญลักษณ์ และลีดเดอร์บอร์ด การเล่นเกมสามารถกระตุ้นให้นักเรียนจุดประกายการเรียนรู้</p>
<p>กําลังดิ้นรนเพื่อหาวิธีเพิ่มตัวจับเวลาให้กับ PowerPoint ใช่หรือไม่ คุณมาถูกที่แล้ว! เราลองใช้วิธีการต่างๆ ทั้งหมด (มีและไม่มี Add-in) เพื่อเพิ่มตัวจับเวลาลงใน PowerPoint และเราได้สรุป 4 ที่ดีที่สุดสําหรับคุณ! อ่านต่อสําหรับบทช่วยสอนทีละขั้นตอนสําหรับแต่ละวิธีรวมถึงเทมเพลตสไลด์ตัวจับเวลา PowerPoint ที่ดาวน์โหลดได้ฟรี</p>
<p>เราเพิ่งเปิดตัวฟีเจอร์ ClassPoint ใหม่ที่มอบประสบการณ์การนำเสนอที่ทรงพลัง น่าสนใจยิ่งขึ้น และมีมนต์ขลังยิ่งขึ้นใน PowerPoint ลองดูและเริ่มใช้ในชั้นเรียนถัดไปของคุณ </p>
<p>การให้คำติชมนั้นถือเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับการเติบโตของนักเรียนมาก จะเติบโตไปอย่างไรส่วนหนึ่งนั้นมาจากคำติชมของคุณครูเลยค่ะ แต่เราจะเป็นการติชมอย่างไรให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้นักเรียนของเราเติบโตไปอย่างมีคุณภาพ วันนี้ ClassPoint นำ 4 การติชมนักเรียนให้ได้ประสิทธิภาพมาฝากทุกคนกันค่ะ 1. ข้อเสนอแนะควรมุ่งเน้นไปที่เป้าหมาย เป้าหมายหมายถึงผลการเรียนรู้ ในการให้คำติชมแก่นักเรียน คุณครูสามารถอ้างอิงถึงผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียนได้ว่านักเรียนทำได้ดีแค่ไหนและ ยังมีส่วนไหนที่ยังขาดตกบกพร่องอยู่ การให้คำติชมกับนักเรียนนั้นเราสามารถตั้งเป็นคำถามได้ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการตั้งคำถามกับเป้าหมายของตนเองได้ ตัวอย่างเช่น “หนึ่งในเป้าหมายการเรียนรู้คือการแยกแยะระหว่างความลำเอียงและอคติออกจากกัน ทั้งสองแตกต่างกันอย่างไร ไฮไลท์ความแตกต่างเหล่านั้นให้ชัดเจน” การดึงความสนใจของนักเรียนไปที่ผลการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอช่วยให้พวกเขานึกถึงเป้าหมาย กระตุ้นให้พวกเขาประเมินผลงานของตนเองโดยเปรียบเทียบกับผลการเรียนรู้ได้อยู่เสมอ 2. ให้คำติชมอย่างชัดเจนและเจาะจง แทนที่จะพูดอย่างคลุมเครือ ให้ระบุรายละเอียดเฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับสิ่งที่นักเรียนทำได้ดีและจุดที่ต้องปรับปรุง ตัวอย่างเช่น แทนที่จะพูดว่า “ประเด็นดี แต่ส่งได้ไม่ดี” ให้พูดว่า “คุณทำประเด็นได้ดีเยี่ยม อย่างไรก็ตาม มันจะดีกว่าถ้าคุณใช้ตัวอย่างที่เกี่ยวข้องมากกว่านี้” วิธีที่นี้จะช่วยคุณในฐานะครูคือการคิดเกี่ยวกับขั้นตอนการปฏิบัติที่นักเรียนของคุณสามารถดำเนินการเพื่อปรับปรุงงานของพวกเขาและสื่อสารในลักษณะที่ชัดเจนและรัดกุมได้มากยิ่งขึ้น ความเฉพาะเจาะจงเป็นสิ่งสำคัญเพราะ อย่างแรก นักเรียนสามารถระบุสิ่งที่ต้องปรับปรุงเพื่อให้ประสบความสำเร็จ อย่างที่สอง ส่งเสริมพฤติกรรมเชิงบวกเมื่อนักเรียนทำสิ่งที่ถูกต้อง อย่างที่สาม หลีกเลี่ยงความสับสนด้วยการทำให้ชัดเจนและรัดกุม อย่างที่สี่ ช่วยให้นักเรียนมีแรงจูงใจโดยการแสดงให้พวกเขาเห็นว่าความคืบหน้าของพวกเขาได้รับการสังเกต การให้คำติชมที่เหมาะสมสามารถช่วยให้นักเรียนตระหนักถึงจุดแข็งและจุดอ่อน ของตนเองมากยิ่งขึ้น 3. ให้คำติชมอย่างมืออาชีพ ใช้คำติชมเชิงบวกและเชิงลบ: เน้นให้คำติชมทั้งด้านบวกและด้านลบกับนักเรียน ไม่ควรที่จะให้คำติชมด้านลบที่มากเกินไปเพราะจะทำให้นักเรียนนั้นยอมแพ้ต่อการทำเป้าหมายให้สำเร็จก่อน ดังนั้น การเน้นย้ำในเชิงบวกจะช่วยให้นักเรียนรู้สึกดีขึ้นเกี่ยวกับตนเองในระยะยาว แม้ว่าพวกเขาจะยังต้องปรับปรุงงานบางด้านก็ตาม […]</p>
1,000,000+ people like you use ClassPoint to boost student engagement in PowerPoint presentations.